วันอาทิตย์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2553

หลักการใช้ ing

กฎการเติม – ing  ที่คำกริยา
              1. ถ้าลงท้ายด้วย e ให้ตัด e ก่อนแล้วจึงเติม -ing
                    เช่น come ---- coming ,   have----having ,     smile----smiling
                2. เปลี่ยน ie เป็น y ก่อนเติม ing  เช่น
                  die -------dying , lie --------lying ,   tie----------tying
           2. ถ้าเป็นคำพยางค์เดียว มีสระเสียงสั้น ลงท้ายด้วยตัวสะกดตัวเดียว ให้เติมตัวสะกดซ้ำอีกตัวก่อน แล้วจึงเติม -ing
                 เช่น  run ---- running , cut----cutting , hit----hitting
           3. คำนอกเหนือจากนี้ให้เติม -ing ต่อท้ายได้เลย
                 เช่น    read----reading , wash –washing , eat-----eating              

การหาพื้นที่

สูตรการหาพื้นที่ของสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยม=เศษหนึ่งส่วนสองคูณฐานคูณสูง
ความสูง=2xพท. หาร ฐาน

ความยาว=2xพท. หาร สูง
 สูตรการหาพื้นที่ของสี่เหลี่ยม


สี่เหลี่ยมผืนผ้า=กว้าง คูณ ยาว

สี่เหลี่ยมจัตุรัส=ด้าน คูณ ด้าน

สี่เหลี่ยมด้านขนาน=สูง คูณ ฐาน

สี่เหลี่ยมคางหมู=เศษหนึ่งส่วนสอง คูณ ผลบวกด้านคู่ขนาน คูณ สูง

สี่เหลี่ยมขนมเปียกปูน=เศษหนึ่งส่วนสอง คูณ ผลคูณของเส้นทแยงมุม

สี่เหลี่ยมใดใด=เศษหนึ่งส่วนสอง คูณ เส้นทแยงมุม คูณ ผลบวกของเส้นกิ่ง

อ้างอิง จาก dek-d.com/board/view.php?id=1103300

ภาษาอังกฤษน่ารู้

ภาษาอังกฤษน่ารู้
สวัสดีตอนเช้า                       Good morning
ลาก่อน                                  Good bye
แล้วพบกันใหม่                      See you again
ขอให้สนุกในการเดินทาง     Have a nice trip
ดูแลตัวเองด้วยนะ                 Take care
หวังว่าคงเป็นเช่นนั้น              I hope so
คุณมีห้องลองไหม                 Do you have a fitting room
ใส่ได้พอดีไหม                       Does it fit you?
มันใหญ่เกินไป                        It’s too big 
ช่วยห่อให้ด้วย                         Please wrap it
ราคาเท่าไร                             How much is...?
แพงจัง                                   Too expensive
ไม่ลดราคาให้หน่อยเหรอ       Any discount?


http://teawchiangmai.com/chiangmaiboard/index.php?topic=809.0

วันอาทิตย์ที่ 12 กันยายน พ.ศ. 2553

การใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง

ทุกคนแค่เห็นชื่อตอนก็เบื่อแล้วใช่ไหมคะ เอ้ น้ำจะทำอย่างไรให้ไม่เบื่อดีหนอ เอางี้เดี๋ยวน้ำจะเล่าอะไรให้ฟังค่ะ เชื่อไหมคะว่าโลกของเรามีมิติที่เร้นลับ น้ำเชื่อว่าทุกคนไม่รู้หรอก


น้ำจะเฉลยนะคะ อักขราพิภพค่ะ เวลาที่เราเขียนภาษาไทยผิด พวกเขาก็จะป่วยหรือถ้าเราตัดพวกเขา

ออกจากพยัญชนะไทย พวกเขาก็จะหายไป ดังนั้นพวกเราหันมาช่วยกันเขียนภาษาไทยให้ถูกต้องนะคะ

อ้อน้ำจะบอกอะไรอีกอย่างนะคะเวลาที่พวกเราเขียนภาษาไทยผิดๆถูกๆอย่างเช่น หวะดี คราฟ อ่ะดิ ฯลฯ บางคนอาจคิดว่าเท่ ทันสมัยแต่น้ำขอย้ำเลยค่ะว่ามันไม่ใช่อย่างที่ทุกคนคิด เพราะมันจะทำให้ภาษาไทยวิบัติ

ได้รับรู้เท่านี้คงพอนะคะ อย่าลืมทำอย่างที่น้ำบอกนะคะ บาย

ที่มา http://my.dek-d.com/dog123/blog/

เกร็ดภาษาน่ารู้

                       เกร็ดความรู้

ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย ภาษาไทยมีลักษณะเฉพาะเป็นของตัวเอง แตกต่างจากภาษาอื่น การที่จะใช้ภาษาให้ได้ผลสมความมุ่งหมาย จะต้องรู้ลักษณะของภาษาอย่างถ่องแท้เสียก่อน มิฉะนั้นจะไม่สามารถหยิบหยกหรือเลือกถ้วยคำได้ถูกต้อง

ภาษาไทยมีตัวอักษรเป็นของตนเอง ภาษาไทยมีตัวอักษรเป็นของตนเอง เป็นที่น่าภาคภูมิใจยิ่งนัก บางชาติไม่มีภาษาของตนเอง ต้องใช้ภาษาอื่น บางชาติมีภาษาเป็นของตนเอง แต่ต้องใช้ตัวอักษรของชาติอื่น พระเจ้าวรวงศ์เธอกรมหมื่นนราธิปพงศ์ประพันธ์ได้ทรงกล่าวถึงอักษรไทยว่า " พ่อขุนรามคำแหงได้บัญญัติตัวอักษรไทยขึ้น โดยดัดแปลงแบบใช้กันอยู่ก่อนบ้างนั้น ก็ได้บัญญัติขึ้นเพื่อให้เหมาะสมแก่ภาษาไทยเป็นส่วนมาก แต่ก็ได้มีอักษรเพิ่มขึ้นมา เพื่อถ่ายตัวอักษรบาลีสันสกฤต ซึ่งเขียนต่างกัน แต่ออกเสียงเหมือนกัน "

ภาษาเขียนมีวรรคตอน ภาษาพูดมีจังหวะ ด้วยเหตุที่ภาษาไทยมีวิธีเขียนคำต่อคำต่อกันไม่มีการเว้นระยะระหว่างคำ ต่อเมื่อจบความจึงมีการเว้นวรรค วรรคตอนเป็นเรื่องสำคัญในภาษาไทย ในเรื่องการแบ่งความ การเขียนถ้าเว้นวรรคตอนผิดทำให้เสียความหรือความเปลี่ยนไป ในการพูดต้องเว้นวรรคเว้นจังหวะให้ถูกที่ เช่นเดียวกับการหยุดผิดจังหวะ ความก็เปลี่ยนไป


ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีลักษณะนาม ลักษณะนามคือ นามที่บอกลักษณะของนามข้างหน้า ซึ่งเป็นสิ่งที่เราผู้เป็นเจ้าของภาษาควรจะรักษาไว้ คือรู้จักใช้ให้ถูกต้อง ลักษณะนามทำให้เข้าใจลักษณะมองเห็นภาพของนามข้าหน้า ภาษาไทยมีลักษณะที่แปลกจากภาษาอื่น ผู้เป็นเจ้าของภาษาควรใช้ให้ถูกต้อง รักษาไว้เป็นเอกลักษณ์ของภาษา


http://www.kkw.rmutr.ac.th/thai/t4.html

วันอาทิตย์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2553

เกร็ดภาษาน่ารู้

ส่งงานครั้งที่ 1
เนื้อหาที่น่าสนใจ
1. ด.ญ. รักติบูล  พันธ์ศรี   เลขที่ 41  เนื้อหาที่สนใจ  การใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง
2. ด.ญ. ยุวดี   พิมพ์วิชา     เลขที่ 40  เนื้อที่สนใจ     เกร็ดภาษาน่ารู้
3. ด.ญ. ดาราวรรณ  คำสงค์  เลขที่ 29   เนื้อหาที่สนใจ  ภาษาอังกฤษน่ารู้
4. ด.ช.  นันธพล    ประทุมมาตย์  เลขที่  13   เนื้อหาที่สนใจ  การหาพื้นที่
5. ด.ช. ชนสรณ์   ทีหอคำ    เลขที่   3     เนื้อหาที่สนใจ  หลักการใช้ ing